http://www.learnings.in.th/scitech/index.php/rta/issue/feed หนังสือเผยแพร่ความรู้ 2021-09-13T18:49:10+07:00 prapatsorn prapatsornkhaikratoke@gmail.com Open Journal Systems <p> <strong> กรมยุทธศึกษาทหารบก</strong> ในฐานะหน่วยงานรับผิดชอบด้านการพัฒนาการฝึก ศึกษา และหลักนิยมของกองทัพบกมุ่งเน้นพัฒนาองค์ความรู้ด้านการทหาร วิวัฒนาการ และวิทยาการสมัยใหม่ โดยคัดเลือกผู้ทรงคุณวุฒิทางทหารให้ดำเนินการแปลและเรียบเรียงหลักนิยมที่น่าสนใจ นำมาเป็นแนวทางให้กับกำลังพลของกองทัพบกได้ศึกษานำองค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ให้ได้ผลดียิ่งขึ้น และได้พิจารณาจัดทำหนังสือเผยแพร่ความรู้ โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อขยายความรู้พื้นฐานให้กำลังพลใน ทบ. ได้รับทราบข้อมูลพื้นฐาน และประยุกต์องค์ความรู้ในส่วนที่เกี่ยวข้องนำไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติราชการต่อไป</p> http://www.learnings.in.th/scitech/index.php/rta/article/view/160 ปก 2021-09-13T18:48:24+07:00 บรรณาธิการ rta4@learnings.in.th <p>-</p> 2021-09-13T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2021 หนังสือเผยแพร่ความรู้ http://www.learnings.in.th/scitech/index.php/rta/article/view/149 บทที่ 1 : กำเนิดโลกสองขั้วอำนาจและการเผชิญหน้า (ค.ศ. 1945 - 1955) 2021-09-08T22:10:05+07:00 พ.ท.ชุมพล จักงาม rtaa21@learnings.in.th <p>โลกภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ต่างจากโลกก่อนสงครามมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแบบแผนความสัมพันธ์ระหว่างประเทศแล้ว ถึงเป็นจุดเปลี่ยนที่สำคัญในประวัติศาสดร์มนุษยชาติ เพราะเป็นจุดจบของยุโรป ยุคของอภิมหาอำนาจกำลังเริ่มขึ้น...</p> 2021-09-12T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2021 หนังสือเผยแพร่ความรู้ http://www.learnings.in.th/scitech/index.php/rta/article/view/150 บทที่ 2 : การอยู่ร่วมกันอย่างสันติ (ค.ศ. 1955 - 1962) 2021-09-08T22:13:50+07:00 พ.ท.ชุมพล จักงาม rtaa21@learnings.in.th <p>ช่วงระหว่างปี 1955 - 1956 ยังไม่มีสิ่งบอกเหตุที่แสดงถึงการสิ้นสุดลงของโลกระบบสองขั้วอำนาจที่เกิดขึ้นกายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติ รวมทั้งการสิ้นสุดลงของสงครามเย็นด้วยเช่นกัน แต่เป็นช่วงเวลาขั้นกลางของการเปลี่ยนผ่านจากการเผชิญหน้าระหว่างสองค่ายไปสู่การผ่อนคลายความถึงเครียด ซึ่งเรียกช่วงเวลานี้ว่าการอยู่ร่วมกันอย่างสันติฉันเป็นรูปแบบใหม่ของความสัมพันธ์ระหว่างตะวันออกกับตะวันตก และพลจาก "การเกิดโลกที่สาม " การปลดปล่อยลาณานิคมขั้นแรกซึ่งเกิดขึ้นในเอเชียจะตามมาด้วยขั้นที่สองซึ่งจะเกี่ยวข้องกับแอฟริกาเป็นส่วนใหญ่ การประชุมที่บันดุง (Bandung) ในปี 1955 รัฐที่เพิ่งได้รับเอกราช ร่วมกันประกาศความตั้งใจของพวกคนที่จะอยู่อย่างอิสระและสันดิในการประชุมครั้งนี้ไม่มีมหาอำนาจเข้าร่วม และที่คลองสุเอซในปี 1956 มหาอำนาจเจ้าอาณานิคมยุโรปสองประเทศคือฝรั่งเศสและอังกามต้องประสบกับความพ่ายแพ้ทางการทูตต่อประเทศหนึ่งในตะวันออกไกล้...</p> 2021-09-12T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2021 หนังสือเผยแพร่ความรู้ http://www.learnings.in.th/scitech/index.php/rta/article/view/151 บทที่ 3 : การผ่อนคลายความตึงเครียด (ค.ศ. 1962 - 1973) 2021-09-08T22:16:26+07:00 พ.ท.ชุมพล จักงาม rtaa21@learnings.in.th <p>ปี 1962 เปิดศักราชใหม่ให้กับการรื้อฟื้นความสัมพันธ์และความร่วมมือ การแก้ปัญหาขีปนาวุธคิวบา ซึ่งตรงกับการสิ้นสุดของวิกฤตเบอร์ลิน เป็นรากฐานของการผ่อนคลายความตึงเครียด (dtente ) และลดความรุนแรงของสงครามเย็น อีกทั้งยังส่งผลกระทบอื่น 1 อีกมากมาย...</p> 2021-09-12T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2021 หนังสือเผยแพร่ความรู้ http://www.learnings.in.th/scitech/index.php/rta/article/view/152 บทที่ 4 : โลกที่เสียสมดุล (ค.ศ. 1973 - 1985) 2021-09-08T22:20:09+07:00 พ.ท.ชุมพล จักงาม rtaa21@learnings.in.th <p>หากการไช้ปี 1973 เป็นจุดแบ่งเวลาเป็นสิ่งที่ถูกต้อง ก็ไม่ได้หมายความว่าการผ่อนคลายความดึงเครียดจะจบสิ้นไปในทันทีเพื่อหลีกทางให้กับ "สงครามเย็นครั้งใหม่" อันที่จริง พลวัต ของการผ่นคลายความถึงเครียดยังคงดำเนินต์อไปจนถึงปี 1935 ปีที่พัฒนาการของโลกมาถึงจุดสมดุล...</p> 2021-09-12T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2021 หนังสือเผยแพร่ความรู้ http://www.learnings.in.th/scitech/index.php/rta/article/view/153 บทที่ 5 : อวสานโลกสองขั้วอำนาจ (ค.ศ. 1985 - 1992) 2021-09-08T22:25:33+07:00 พ.ท.ชุมพล จักงาม rtaa21@learnings.in.th <p>ต้องย้อนไปถึงปี 1945 เพื่อค้นหาตัวการที่เร่งประวัดิศาสตร์ให้เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและยิ่งขัดเจนมากขึ้นตั้งแต่ปี 1485 วันที่จริง พื้นฐานทั้งหมดของโลกที่เริ่มมาดั้งแต่ปี 1945 หรือลาจเป็นปี 1967 ถูกสั่นคลอน สิ่งที่เป็นผลจากสงครามโลกครั้งที่ 2 เลือนหายไปเพราะเยอรมนีซึ่งรวมกับญี่ปุ่นต่างก็กลับมาเป็นมหาอำนาจอีกครั้ง ขณะที่ลัทธคอมมิวนิสต์ล้มลุกคลุกคลาน เศรษฐกิจแบบตลาดกลับเป็นฝ่ายมีชัยในทุกหนทุกแห่ง สหภาพโซเวียตต้องกอยในทุกา ด้านและแตกลอกเป็นหลายสาธารณรัฐ การสิ้นสุดของสงครามเย็นทำให้ความถึงเครียดลดความรุนแรงลง ระบลบประชาธิปไดยแบบรัฐสกาของตะวันตกกลายเป็นที่นิยมแพร่หลาย แต่การกลับมาของลัทธิชาตินิยมจะทำให้ระเบียบโลกไหม่ที่กำลังอยู่ในช่วงฟักตัวนี้จะกลายเป็นจุดสิ้นสุดของความขัดแย้งหรือจุดเริ่มต้นของความปั่นป่วนในทุกทิศทุกทางกันแน่...</p> 2021-09-12T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2021 หนังสือเผยแพร่ความรู้ http://www.learnings.in.th/scitech/index.php/rta/article/view/154 บทที่ 6 : สู่การค้นหาระเบียบโลกใหม่ (ค.ศ. 1992 - 2001) 2021-09-08T22:30:30+07:00 พ.ท.ชุมพล จักงาม rtaa21@learnings.in.th <p>ในช่วงเปลี่ยนศตวรรษนี้ โลกใหม่กำลังก่อตัวขึ้น เป็นโลกที่มีพลวัดและคาดเดาได้ยากสิ่งที่เป็นรากฐานของครึ่งหลังศตวรรษที่ 20 หรือทั้งศตวรรษก็ว่าได้ ถูกกวาดทิ้งไปหรือไม่ก็หมดความสำคัญลง ราคาน้ำมันที่ลดลงช่วยให้เศรษฐกิจโลกฟื้นตัวลึกครั้ง โดยฟื้นอย่างช้าๆ ในช่วงปี 1992 - 1993 และร้อนแรงในช่วงปี 1994 - 2000 กลุ่มประเทศแองโกลแซกซอนมีอัตราการเดิบโดทางเศรษฐกิจที่สูง มีประเทศอุดสาหกรรมใหม่เกิดขึ้นมาโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเอเชีย เศรษฐกิจที่เพื่องฟูนี้ยังแผ่มาถึงยุโรปซึ่งก่อนหน้านี้อยู่ในวังวนของการว่างงานและเศรษฐกิจตกต่ำ...</p> 2021-09-12T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2021 หนังสือเผยแพร่ความรู้ http://www.learnings.in.th/scitech/index.php/rta/article/view/155 บทที่ 7 : ระเบียบจักรวรรดิอันปั่นป่วน (ค.ศ. 2001 - 2008) 2021-09-08T22:35:07+07:00 พ.ท.ชุมพล จักงาม rtaa21@learnings.in.th <p>เหตุการณ์ 10 กันยายน 2001 ทำให้ระบบระหว่างประเทศเปลี่ยนแปลงจนถึงขั้นมูลฐาน และยังไม่หยุดส่งผลกระทบที่ดำเนินควบคู่ไปกับปรากฎการณ์โลกากิวัตน์ ทำให้ภูมิทัศน์โลกมีลักษณะเป็นการปฏิวัติด้านการสื่อสาร เศรษฐกิจที่รุ่งเรืองในเอเชีย ความรู้สึกไม่ปลลดกัยในประเทศที่พัฒนาแล้ว และความล้มเหลวของสหรัฐอเมริกาที่เคยคิดว่าจะสามารถบังคับใช้ระเบียบของตน...</p> 2021-09-12T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2021 หนังสือเผยแพร่ความรู้ http://www.learnings.in.th/scitech/index.php/rta/article/view/156 บทที่ 8 : การจัดวางพลังอำนาจรอบใหม่ (ค.ศ. 2008 เป็นต้นไป) 2021-09-08T22:40:13+07:00 พ.ท.ชุมพล จักงาม rtaa21@learnings.in.th <p>วิกฤตการเงินในปี 2008 ทำให้ปรากฎการณ์ระหว่างประเทศหลายอย่างที่เกิดขึ้นก่อนหน้านั้นเลาร้ายลง ปรากฎการณ์เหล่านี้ปรับเปลี่ยนและจัดวางพลังอำนาจของโลกใหม่ เช่นแรงกดดันของตลาดเสรีระดับโลก การเพิ่มบทบาทของประเทศที่มีเศรษฐกิจขยายตัวและเห็นชอบกับแนวทางการเปิดเสรีการค้า ผลกระทบจากการอพยพข้ามประเทศและการกระทบกระทั่งทางศาสนา (อินเดีย ปากีสถาน อีขิปต์ และอินโดนีเชีย) ความน่าเชื่อถือของสหภาพยุโรป และบรรยากาศโดยรวมที่สะท้อนภาวะโลกที่กำลังเปลี่ยนแปลง เป็นต้นขณะที่พลวัตทางเศรษฐกิจเปลี่ยนจากโลกเหนือมาสู่โลกใต้ นายปาสกาล ลามี (Pascal Lamy) ผู้อำนวยการองค์การการค้าโลกกล่าวว่า "ในปี 2012 การผลิตของประเทศพัฒนาแล้วต่ำกว่าของประเทศกำลังพัฒนา" ความเป็นมหาอำนาจที่เพิ่มขึ้นของจีนสร้างความกังวลให้กับประเทศเพื่อนบ้านเลเชีย สหรัฐอเมริกาในฐานะ "มหาอำนาจโดยปริยาย" ...</p> 2021-09-12T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2021 หนังสือเผยแพร่ความรู้ http://www.learnings.in.th/scitech/index.php/rta/article/view/161 ส่วนท้าย 2021-09-13T18:49:10+07:00 บรรณาธิการ rta4@learnings.in.th <p>-</p> 2021-09-13T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2021 หนังสือเผยแพร่ความรู้